มหาวิทยาลัยพายัพ
หลักสูตรบัญชีบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชี
คณะ บัญชี การเงินและการธนาคาร
ภาคการศึกษาที่ 2 ประจำปีการศึกษา 2555
1. ชื่อวิชา
บช. 109 เทคโนโลยีสารสนเทศเบื้องต้น
3(3-1) หน่วยกิต
(AC 109 Introduction of Information
Technology)
จำนวนหน่วยกิต 3(3-1) หน่วยกิต
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
คำอธิบายรายวิชา
แนวคิดของระบบสารสนเทศทางการจัดการ โครงสร้าง องค์ประกอบและระบบสารสนเทศย่อยทางธุรกิจ
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการตัดสินใจทางการจัดการ หลักการจัดการและหลักการพัฒนาระบบสารสนเทศทางธุรกิจ/คอมพิวเตอร์เทคโนโลยี
2. อาจารย์ผู้สอน
ยุทธนา เลาหะวิสุทธิ์
ประเภท
þ อาจารย์ประจำ
o อาจารย์พิเศษ
3.
วัตถุประสงค์เฉพาะวิชา
a.
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
b.
เพื่อให้นักศึกษาเห็นถึงบทบาทและความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีต่อธุรกิจ
c.
เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจประโยชน์การนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในธุรกิจ
d.
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวการวิเคราะห์และออกแบบระบบสารสนเทศในธุรกิจ
4.
รายชื่อหนังสือประกอบการสอน
a.
เอกสารประกอบการสอน
ยุทธนา เลาหะวิสุทธิ์ สารสนเทศเบื้องต้น. เชียงใหม่ : PDF document 2554
a.
หนังสือภาษาไทย
จรัณ ภาสุระ. เออร์กอนอมิกส์ ศาสตร์เพื่อปรับสภาพแวดล้อมในการทำงานประจำวัน. กรุงเทพฯ : บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น , 2539.
ฉัตรชัย สุมามาลย์.,การสื่อสารข้อมูลคอมพิวเตอร์และระบบเครือข่าย. กรุงเทพฯ : บริษัท ไอบิซ พับลิชิ่ง จำกัด, 2542.
ทรงศักดิ์ ลิ้มบรรจงมณี. การสร้างกราฟิกบนเว็บด้วย
Photoshop. กรุงเทพฯ : บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2542.
ทีมบรรณาธิการ
EWORLD Magazine เพิ่มพลังธุรกิจด้วยไอซีทีโซลูชั่น บริษัท ดิแอสไพเธอร์สกรุ๊ป จำกัด, 2549
นฤชิต แววศรีผ่อง และ สิทธิโชค ปาณะศรี. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.5 กรุงเทพฯ : มีเดีย อินเทลลิเจนซ์ เทคโนโลยี, 2547.
ประยงค์ อู่ประสิทธิวงศ์. โครงงานด้านคอมพิวเตอร์ธุรกิจ กรุงเทพฯ สำนักพิมพ์วังอักษร 2547
ปิยะ นากสงค์, อัมรินทร์ เร็ชรกุล. Microsoft Windows XP Office
2003 ฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพฯ : บริษัทซัคเซส มีเดีย, 2547
พัฒพงษ์ อมรวงศ์ และวิเชียร วิสุงเร. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.6 กรุงเทพฯ : มีเดีย อินเทลลิเจนซ์ เทคโนโลยี, 2548.
พิกุล พงษ์กลาง. หลักการบัญชี 1 เชียงใหม่ 2549
รุจิจันทร์ พิริยะสงวนพงศ์. สารสนเทศธุรกิจ กรุงเทพฯ บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น , 2549.
วศิน เพิ่มทรัพย์ม วิภา เพิ่มทรัพย์. คู่มือ Windows XP ฉบับสมบูรณ์ (ปรับปรุงใหม่). กรุงเทพฯ : บริษัท โปรวิชั่น, 2547
ศรีไพร ศักดิ์รุ่งพงศากุล ระบบสารสนเทศและเทคโนโลยีการจัดการความรู้ กรุงเทพฯ บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น , 2549.
สุทธิพันธุ์ แสนละเอียด. ติดตั้งและแก้ปัญหา ฉบับช่างคอมมืออาชีพ. นนทบุรี : ไอดีซีฯ 2548.
b.
หนังสือภาษาอังกฤษ
Hugos H.
Michael, Hulitzky Derek. Business in the cloud: What every business needs to
know about cloud computing. John Wiley & Sons, Inc. 2011
Long, Larry.
Long, Nancy. Computers Information Technology in Perspective. Pearson
Prentice Hall. 2005
Muir C.
Nancy. Teach yourself visually Excel
2007 Wiley Publishing, Inc. 2007
Neuman
Delia. Learning in Information – Rich environments. Springer
Science Business Media 2011
Parsons
Jamrich June, Oja Dan. New Perspectives on Computer Concepts 2011. International edition Thomson
Course Technology. 2011
Pijpers Guus. Information overload : a system for better managing
everyday data. John Wiley & Sons, Inc. 2010.
Shelly, Gary B.
Cashman, Thomas J. Vermaat Misty E. Discovering Computers 2011 Living in a
Digital World. Course technology, a division of Thomson Learning Inc. 2011
Stephen
Moira. Get Started in Computing. McGraw-Hill. 2010.
Weverka, Peter.
Windows® XP GigaBook For Dummies. New York : John Wiley & Son, Inc.
2004.
Williams K. Brain, Sawyer C.
Stacey. Using Information Technology nine edition McGraw Hill 2010.
3.
เค้าโครงรายวิชา
สัปดาห์
|
บทที่
|
วัตถุประสงค์เฉพาะบท
|
เนื้อหา
|
จำนวนชั่วโมง
|
กิจกรรมการเรียนการสอน
|
1-3
|
1.
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ และเทคโนโลยีสารสนเทศ
|
นักศึกษาทราบถึง ความหมายและความสำคัญของสารสนเทศ ข้อมูล และเทคโนโลยีสารสนเทศ
|
·
ความหมายของสารสนเทศ
·
ความหมายและส่วนประกอบของระบบสารสนเทศ
·
ความหมายของคอมพิวเตอร์
·
การจำแนกประเภทของเครื่องคอมพิวเตอร์
·
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
·
สังคมสารสนเทศ
|
บรรยาย7 ชม.
|
1.อาจารย์บรรยายพร้อมตอบข้อซักถาม
2.
นักศึกษาฝึกทำแบบฝึกหัดในชั่วโมง
ปฏิบัติในห้องเรียน
3.
ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองในห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
4.
ค้นหา website ที่เกี่ยวข้อง
5.
ตอบคำถามแบบมีตัวเลือก และเติมคำสั้น ๆ กับโปรแกรมช่วยสอนในห้องปฏิบัติการ
|
3-5
|
2.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
|
นักศึกษาทราบถึงรูปแบบการสื่อสารของมนุษย์ และรูปแบบการสื่อสารของคอมพิวเตอร์
การสร้างรหัสแทนข้อมูลขึ้นในการแทนการสื่อสารของมนุษย์ในคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์
|
·
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
·
การสื่อสารแบบอนาลอกและการสื่อสารแบบดิจิตอล
·
ส่วนประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
·
ส่วนประมวลผล
·
ส่วนประกอบรอบข้าง
·
หน่วยจัดเก็บข้อมูลสำรอง
|
บรรยาย8 ชม.
|
1.อาจารย์บรรยายพร้อมตอบข้อซักถาม
2.
นักศึกษาฝึกทำแบบฝึกหัดในชั่วโมง
ปฏิบัติในห้องเรียน
3.
ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองในห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
4.
ค้นหา website ที่เกี่ยวข้อง
5.
ตอบคำถามแบบมีตัวเลือก และเติมคำสั้น ๆ กับโปรแกรมช่วยสอนในห้องปฏิบัติการ
|
5-7
|
3.
ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
|
นักศึกษาทราบถึงความสำคัญของ
software ที่มีต่อ
hardware และระบบสารสนเทศ
ประเภทของ software
|
·
ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
·
ความหมายของซอฟต์แวร์
·
ประเภทของซอฟต์แวร์
·
ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการ
·
ซอฟต์แวร์ประยุกต์
·
ซอฟต์แวร์อรรถประโยชน์
·
โปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์
|
บรรยาย8 ชม.
|
1.อาจารย์บรรยายพร้อมตอบข้อซักถาม
2.
นักศึกษาฝึกทำแบบฝึกหัดในชั่วโมง
ปฏิบัติในห้องเรียน
3.
ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองในห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
4.
ค้นหา website ที่เกี่ยวข้อง
5.
ตอบคำถามแบบมีตัวเลือก และเติมคำสั้น ๆ กับโปรแกรมช่วยสอนในห้องปฏิบัติการ
|
8-9
|
4.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
|
นักศึกษาทราบถึงความสำคัญของระบบเครือข่ายที่มีต่อระบบสารสนเทศ
|
·
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
·
ประเภทของเครือข่าย
·
อุปกรณ์เชื่อมต่อเครือข่าย
|
4
|
1.อาจารย์บรรยายพร้อมตอบข้อซักถาม
2.
นักศึกษาฝึกทำแบบฝึกหัดในชั่วโมง
ปฏิบัติในห้องเรียน
3.
ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองในห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
4.
ค้นหา website ที่เกี่ยวข้อง
5.
ตอบคำถามแบบมีตัวเลือก และเติมคำสั้น ๆ กับโปรแกรมช่วยสอนในห้องปฏิบัติการ
|
9-10
|
5.
ระบบการสื่อสารข้อมูล
|
นักศึกษาทราบถึงความสำคัญของระบบสื่อสารข้อมูลที่มี่ต่อระบบสารสนเทศ
|
·
ระบบการสื่อสารข้อมูล
·
ความหมายของการสื่อสารข้อมูล
·
องค์ประกอบของระบบการสื่อสารข้อมูล
·
ชนิดของสัญญาณในการสื่อสารข้อมูล
·
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
|
4
|
1.อาจารย์บรรยายพร้อมตอบข้อซักถาม
2.
นักศึกษาฝึกทำแบบฝึกหัดในชั่วโมง
ปฏิบัติในห้องเรียน
3.
ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองในห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
4.
ค้นหา website ที่เกี่ยวข้อง
5.
ตอบคำถามแบบมีตัวเลือก และเติมคำสั้น ๆ กับโปรแกรมช่วยสอนในห้องปฏิบัติการ
|
10-13
|
6.
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
|
นักศึกษาทราบถึงความสำคัญของอินเตอร์เน็ตที่มีต่อระบบสารสนเทศ
|
·
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
·
ความหมายของอินเตอร์เน็ต
·
องค์ประกอบของอินเตอร์เน็ต
·
บริการต่าง ๆ บนอินเตอร์เน็ต
·
อินทราเน็ต และเอ็กซ์ทราเน็ต
|
5
|
1.อาจารย์บรรยายพร้อมตอบข้อซักถาม
2.
นักศึกษาฝึกทำแบบฝึกหัดในชั่วโมง
ปฏิบัติในห้องเรียน
3.
ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองในห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
4.
ค้นหา website ที่เกี่ยวข้อง
5.
ตอบคำถามแบบมีตัวเลือก และเติมคำสั้น ๆ กับโปรแกรมช่วยสอนในห้องปฏิบัติการ
|
13-14
|
7. สารสนเทศกับการตัดสินใจของผู้บริหาร
|
นักศึกษาทราบถึงความสำคัญของระบบสารสนเทศที่มีต่อผู้บริหารในแต่ละระดับขององค์กร
|
·
สารสนเทศกับการตัดสินใจของผู้บริหาร
·
ระบบสารสนเทศกับงานบริหาร
·
ประเภทและระดับการตัดสินใจ
·
ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารในแต่ละระดับ
|
3
|
1.อาจารย์บรรยายพร้อมตอบข้อซักถาม
2.
นักศึกษาฝึกทำแบบฝึกหัดในชั่วโมง
ปฏิบัติในห้องเรียน
3.
ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองในห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
4.
ค้นหา website ที่เกี่ยวข้อง
5.
ตอบคำถามแบบมีตัวเลือก และเติมคำสั้น ๆ กับโปรแกรมช่วยสอนในห้องปฏิบัติการ
|
14-15
|
8. การออกแบบและพัฒนาระบบสารสนเทศ
|
นักศึกษาทราบถึงวงจรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
|
·
การออกแบบและพัฒนาระบบสารสนเทศ
·
ขั้นตอนในการแก้ไขปัญหา
·
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
·
วงจรการพัฒนาระบบสารสนเทศ
|
3
|
1.อาจารย์บรรยายพร้อมตอบข้อซักถาม
2.
นักศึกษาฝึกทำแบบฝึกหัดในชั่วโมง
ปฏิบัติในห้องเรียน
3.
ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองในห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
4.
ค้นหา website ที่เกี่ยวข้อง
5.
ตอบคำถามแบบมีตัวเลือก และเติมคำสั้น ๆ กับโปรแกรมช่วยสอนในห้องปฏิบัติการ
|
การฝึกปฏิบัติจะทำโดยให้นักศึกษาศึกษาจากเอกสารอิเลคทรอนิค และนัดเวลามาทดสอบเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 6 คน ทุก ๆ สัปดาห์ การทดสอบใช้เวลาครั้งละ 30 นาที
เนื้อหาการฝึกปฏิบัติได้แก่
การใช้งานพื้นฐานโปรแกรม
Microsoft Word
การใช้งานพื้นฐานโปรแกรม
Microsoft Excel
การใช้งานพื้นฐานโปรแกรม
Microsoft Powerpoint
รวมกิจกรรมการเรียนคิดจำนวนชั่วโมงและหาค่าเป็นร้อยละ
1.
บรรยาย
60%
2.
อภิปราย
15%
3.
ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
10%
4.
ทำแบบฝึกหัดในชั่วโมงปฏิบัติการ
15%
6. สัดส่วนการให้คะแนน
อภิปรายในชั้นเรียน
10 %
คะแนนเก็บตลอดภาค
30 %
คะแนนสอบกลางภาค
20 %
คะแนนสอบปลายภาค
40 %
รวม
100
%
7. เกณฑ์การประเมินผล
1.
นักศึกษาจะต้องมีเวลาเรียนอย่างน้อย 80%
จึงจะมีสิทธิ์สอบปลายภาค
2.
การประเมินผลการเรียนใช้วิธีการตัดเกรดแบบอิงเกณฑ์ ดังนี้
80
– 100
75
– 79
70
– 74
65
– 69
60
– 64
55
– 59
50
– 54
0 - 49
|
ได้รับอักษรระดับคะแนน
ได้รับอักษรระดับคะแนน
ได้รับอักษรระดับคะแนน
ได้รับอักษรระดับคะแนน
ได้รับอักษรระดับคะแนน
ได้รับอักษรระดับคะแนน
ได้รับอักษรระดับคะแนน
ได้รับอักษรระดับคะแนน
|
A
B+
B
C+
C
D+
D
F
|
*****************************************************************
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น